๘. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ (วัดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ต้องกำหนดเป็นเชิงปริมาณ สามารถวัดผลได้
ตอบวัตถุประสงค์ และแสดงถึงการแก้ไขปัญหาได้จริง)
๘.๑
ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการในภาพรวมทั้งโครงการ (วัดผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ)
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
|
วิธีการวัด
|
เกณฑ์การประเมิน
|
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ เพื่อให้ความรู้
กับคณะครู นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา
ครอบครัวและผู้ประกอบการภายในโรงเรียนให้มีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะที่ต้นทาง
และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๑ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้ถูกต้อง
|
ทำแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรม
|
อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย
มีคะแนนผ่านเกณฑ์การทดสอบ
|
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ เพื่อลดปริมาณขยะภายในโรงเรียนโดยวิธีการโดยการการคัดแยกขยะ
ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๕
ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นก่อนเริ่มดำเนินโครงการ
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๒ กลุ่มเป้าหมายมีการคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป
|
๑.สำรวจจำนวนครู บุคลากร
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีการคัดแยกขยะ
|
อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย
มีการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป
|
๒.เก็บข้อมูลปริมาณขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล
ขยะอันตราย ขยะ
ทั่วไป วัดเป็นค่าเฉลี่ยกิโลกรัมต่อวัน เป็นต้น
|
ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดหลังจากดำเนินโครงการ
ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นก่อนเริ่มดำเนินโครงการ
(วิธีคิด : ชั่งปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัด)
|
|
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๓ เพื่อจัดตั้งฐานการเรียนรู้การคัดแยกขยะในโรงเรียน
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๓ มีฐานการเรียนรู้การคัดแยกขยะในโรงเรียนต้นแบบ การจัดการขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล
ขยะอันตราย ขยะทั่วไป
|
๑.จำนวนฐานการเรียนรู้ที่จัดตั้งขึ้นตามแผนการดำเนินงาน
๒.เก็บข้อมูลจำนวนครั้งในการถ่ายทอดองค์ความรู้ของฐานการเรียนรู้
หรือจำนวนผู้เข้ามาศึกษาดูงานฐานการเรียนรู้
ณ ฐานเรียนรู้ครัวเรือนต้นแบบ |
๑.จำนวนนักเรียนที่ใช้ฐานการเรียนรู้ในการเรียนรู้
๒.มีผู้เข้าศึกษาดูงานฐานการเรียนรู้ครัวเรือนต้นแบบ
หรือศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างน้อย ๑๐๐ คน
|
๘.๒
ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการเป็นรายปี
(วัดผลสำเร็จในเชิงผลผลิตของแผนงานในแต่ละปี)
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
|
ปีที่ ๑
|
ปีที่ ๒
|
แผนงานที่
๑ การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๑ จำนวนผู้ประกอบการร้านค้า,
ร้านอาหาร,นักเรียน,นักเรียนแกนนำ ผู้แทนชุมชน,
สถานประกอบการหอพักที่มีที่ตั้งอยู่ติดกับบริเวณโรงเรียน ผ่านการอบรมตามหลักสูตร
|
๖๖๕
คน
|
-
|
ตัวชี้วัดที่ ๒ จำนวนสื่อประชาสัมพันธ์
รณรงค์การคัดแยกขยะจากต้นทาง
|
-
จำนวนบอร์ดประชาสัมพันธ์
๖ บอร์ด
-
สื่อผ่านเว็บไซต์จำนวน
๑๐ ชุด
-
สื่อ CD จำนวน ๑ ชุด
- แผ่นพับประชาสัมพันธ์จำนวน
๕๐๐ แผ่น
|
-
สื่อผ่านทางระบบสารสนเทศจำนวน ๑๐ เรื่อง
-
สื่อผ่านทางระบบ
-
สารสนเทศจำนวน ๕ เรื่อง
-
แผ่นพับประชาสัมพันธ์จำนวน
๕๐๐ แผ่น
|
ตัวชี้วัดที่ ๓ จำนวนครูและนักเรียนที่ไปศึกษาดูงาน
|
จำนวน
๑ ครั้ง
จำนวน
๕๐ คน
|
-
|
แผนงานที่ ๒ การคัดแยกขยะอินทรีย์
ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ในบริเวณต่างๆ ในโรงเรียน
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๔ กิจกรรมการคัดแยกขยะอินทรีย์
-มีขยะอินทรีย์เกิดขึ้นภายในโรงเรียน ร้อยละ ๔๕
|
สามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ร้อยละ ๑๐๐
|
สามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ร้อยละ
๑๐๐
|
ตัวชี้วัดที่ ๕ กิจกรรมการคัดแยกขยะรีไซเคิล
-จำนวนจุดรองรับขยะรีไซเคิลรูปทรงแบบบ้านสร้างด้วยไม้เฌอร่า
จำนวนนักเรียนผ่านการอบรมการประดิษฐ์จากเศษวัสดุที่เหลือใช้
|
จำนวน ๒ จุด
๒๐๐ คน
|
|
ตัวชี้วัดที่ ๖ กิจกรรมการคัดแยกขยะอันตราย
- จำนวนฐานเรียนรู้ขยะอันตรายสำหรับให้ความรู้แก่นักเรียนได้เข้าใจลักษณะของขยะอันตรายแต่ละชนิด
พิษจากขยะอันตรายที่เข้าสู่ร่างกาย
-มีฐานการเรียนรู้ นักเรียนสามารถถ่ายทอดการคัดแยกขยะ
และส่งเสริมในการคัดแยกขยะอันตรายได้ถูกต้อง
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน
|
ตัวชี้วัดที่ ๗ กิจกรรมการคัดแยกขยะทั่วไป
-
จำนวนที่สุ่มตรวจปริมาณขยะของโรงเรียนทุก ๓ เดือน เพื่อเก็บเป็นฐานข้อมูลสำหรับวิเคราะห์แนวทางในการแก้ไขปัญหา
-
จำนวนตาชั่งสำหรับชั่งปริมาณขยะ แต่ละอาคารที่ดำเนินการชั่งโดยคณะทำงานประจำตึก
-จำนวนจุดรองรับขยะทั่วไป รูปทรงแบบบ้าน สร้างด้วยไม้เฌอร่า
|
จำนวน ๓ เดือน/ครั้ง
จำนวน ๕ เครื่อง
จำนวน ๔ จุด
|
จำนวน ๓ เดือน/ครั้ง
|
แผนงานที่ ๓ การจัดการขยะแต่ละประเภท
(เก็บรวบรวม บำบัด หรือกำจัด หรือนำไปใช้ประโยชน์)
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๘ การจัดการขยะอินทรีย์
-จำนวนนักเรียนผ่านการอบรมทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกองในแปลงสาธิตการเกษตร
-จำนวนฐานเรียนรู้ขยะอินทรีย์
เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ให้แก่นักเรียน
|
จำนวน ๕๐ คน
จำนวน ๑ ฐาน
|
จำนวน ๕๐ คน
|
-จำนวนฐานเรียนรู้ขยะอินทรีย์
เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ให้แก่นักเรียน
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
-
|
- จำนวนแปลงสาธิตการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
-
|
- จำนวนแปลงสาธิตของครอบครัว
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
- จำนวนจุดจัดการขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหารโดยใช้หลักการ
GREEN
CONE ในครัวเรือน
|
จำนวน ๕ จุด
|
จำนวน ๕ จุด
|
-มีฐานการเรียนรู้
และสามารถเป็นศูนย์การเรียนรู้ในการเพิ่มทักษะการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนมาใช้ประโยชน์
ต่อยอดการดำเนินงานโครงการ
|
ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน
|
ไม่น้อยกว่า ๒๐๐ คน
|
ตัวชี้วัดที่ ๙ การจัดการขยะรีไซเคิล
-การดำเนินการธนาคารขยะรีไซเคิล
ในรูปของคณะกรรมการสภานักเรียน
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
-
|
-
จำนวนนักเรียนและบุคลากรผ่านอบรมการทำกระดาษสาจากขยะรีไซเคิล
|
-
|
จำนวน ๑๐๐ คน
|
-
จำนวนนักเรียนและบุคลากรผ่านการอบรมการประดิษฐ์ของใช้เช่นถุงกระดาษ กล่องกระดาษ
และดอกไม้จากกระดาษสา
|
-
|
จำนวน ๑๐๐ คน
|
- จำนวนที่รองรับขยะรีไซเคิลแบบกรงตาข่ายแยกประเภทติดกัน
๔ ล๊อค แบบมีขาล้อเลื่อนตั้งไว้พื้นที่ใกล้สหกรณ์โรงเรียน จำนวน ๑ จุด, โรงอาหาร
จำนวน ๑ จุด
|
จำนวน ๒ จุด
|
-
|
- จำนวนที่รองรับขยะรีไซเคิลแบบกรงเดี่ยว
สำหรับใส่ขวดพลาสติก ตั้งไว้ประจำโรงอาหาร จำนวน ๑ จุด
-นักเรียนมีการใช้ประโยชน์จากการคัดแยกขยะรีไซเคิล
ประเมินโดยการสังเกต และแบบสอบถาม
|
จำนวน ๑ จุด
ร้อยละ ๖๐
|
-
ร้อยะ ๘๐
|
ตัวชี้วัดที่ ๑๐ การจัดการขยะอันตราย
-
ฐานเรียนรู้ขยะอันตรายเพื่อส่งเสริมการในกระบวนการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
จำนวน ๑ ฐาน
|
ตัวชี้วัดที่ ๑๑ การจัดการขยะทั่วไป
- การประกวดการมีส่วนร่วมของชั้นเรียน
ในการลด คัดแยกขยะ และห้องเรียนสะอาดปราศจากขยะ
โดยผ่านคณะกรรมการประเมินของโรงเรียนในรอบทุกๆ ๓ เดือน
|
จำนวน ๔ ครั้ง
|
จำนวน ๔ ครั้ง
|
-
การจัดกิจกรรมสัปดาห์โรงเรียนปลอดขยะ ดำเนินการโดยสภานักเรียน
ภายในกิจกรรมมีการประกวดนวัตกรรมจากการลด คัดแยะขยะ และการสร้างประโยชน์จากขยะ
กิจกรรมฐานเรียนรู้
พี่สอนน้องช่วยกันลดปริมาณขยะภายในโรงเรียนด้วยพลังความสามัคคีในยุคของเรา, กิจกรรมการรณรงค์ใช้หลัก ๓ Rs การลด การใช้ซ้ำ
และการนำกลับมาใช้ใหม่,
กิจกรรมฐานเรียนรู้การประดิษฐ์จากขยะรีไซเคิล, กิจกรรมการนำขยะมาเป็นพลังงานทดแทน,
กิจกรรมขยะเป็นทอง
|
จำนวน ๑ ครั้ง
|
จำนวน ๑ ครั้ง
|
ตัวชี้วัดที่ ๑๒
ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดหลังจากดำเนินโครงการ
ลดลงจากปริมาณขยะที่เกิดขึ้นก่อนดำเนินโครงการ
(วิธีคิด : การชั่งปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัด) |
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
|
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
|
แผนงานที่ ๔ การติดตาม ประเมินผล และการถอดบทเรียน
|
||
ตัวชี้วัดที่ ๑๓ การติดตามประเมินผล
-จำนวนครั้งการติดตาม
ประเมินผล
-จำนวนรายงานการ ถอดบทเรียน สรุปผล และการจัดทำรายงาน
|
จำนวน ๒ ครั้ง
จำนวน ๑ ครั้ง
|
จำนวน ๒ ครั้ง
จำนวน ๑ ครั้ง
|
No comments:
Post a Comment