๙. การบริหารโครงการ


๙. การบริหารโครงการ
๙.๑ โครงสร้างการบริหารโครงการ

๙.๑.๑ คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ (จะทำงานในระดับการให้คำปรึกษา คำแนะนำต่อโครงการ จึงควรเป็นบุคลากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องตามลักษณะกิจกรรมที่ดำเนินการ เช่น ประธานชมรม ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ผู้จัดการตลาดสดของเอกชน ผู้อำนวยการโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษา รวมทั้งหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ต่อโครงการ เป็นต้น) ทั้งนี้ ทุกโครงการจะต้องประสานหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบในพื้นที่โครงการ คือ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค และสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการด้วย
          ชื่อ-สกุล
ตำแหน่ง
หน่วยงานต้นสังกัด
สถานที่ติดต่อ/เบอร์โทรศัพท์
๑.    นายสุรวัฒน์  เลิศชัยพิทักษ์
ที่ปรึกษา
นายกฯเทศบาลต.ดู่ใต้
๐๕๔ ๖๐๐ ๗๑๑
๒.    ดร.รัชดา คำจริง
ที่ปรึกษา
ม.ราชภัฏอุตรดิตถ์
๐๙๑ ๘๓๗ ๔๘๐๘
๓.    นายประยงค์   แก้วประทุม
ที่ปรึกษา
วิทยาลัยชุมชนน่าน
๐๕๔ ๗๑ ๓๒๙
๔.    นายนิทรรศ เวชวินิจ
ที่ปรึกษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดน่าน

๕.    ร.ต.อานุภาพ โทนสูงเนิน
ที่ปรึกษา
ผู้ใหญ่บ้านดอนมูล
๐๘๒ ๑๘๔ ๓๗๐๐
๖.    พันจ่าโทอนุสร  คำวัง
ที่ปรึกษา
อบต.ป่าคา  อ.ท่าวังผา
๐๘๔ ๒๔๖ ๖๒๖๗

บทบาทและหน้าที่
๑. วางแผนการดำเนินงาน และควบคุมกำกับให้การดำเนินงานโครงการมีประสิทธิภาพ
๒. ดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนด้วยความเรียบร้อย และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓. ติดตามนิเทศโครงการ
๙.๑.๒ คณะกรรมการบริหารโครงการ หรือดำเนินโครงการ (จะทำงานในระดับใกล้ชิดกับโครงการ ดังนั้น
จึงควรเป็นบุคลากรของผู้เสนอโครงการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำชุมชน หรือกลุ่มต่างๆ เป็นต้น)
          ชื่อ-สกุล
ตำแหน่ง
หน่วยงานต้นสังกัด
สถานที่ติดต่อ/เบอร์โทรศัพท์
๑.      นายสนอง ก้อนสมบัติ
ประธานโครงการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๙ ๘๕๑ ๘๙๔๒
๒.    นางสาวอริศรา   สะสม
รองประธานโครงการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๔ ๓๗๘ ๗๗๕๒
๓.    นายสุบรรณ     ไชยหาญ
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๙๘ ๐๑๔ ๒๘๕๒
๔.    นางธัญยรัตน์    พลทิพย์
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๑ ๗๐๖ ๓๖๙๒
๕.    นายเวธิต  ยะติ
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๙๗ ๙๑๘ ๑๑๔๓
๖.        นายวีระยุทธ อยู่จันทร์
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๑ ๔๗๓ ๑๐๖๐
๗.        นายประทวน มณีเพชร
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๒ ๒๗๘ ๓๔๕๕
๘.        นางจารี     ใจสุขสันต์
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๒ ๗๘๑ ๔๑๐๔
๙.        นายชูศักดิ์  เมืองชัย
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๙ ๗๕๗ ๒๙๖๙
๑๐.    นายภูมิสิทธิ์ อิสระรังสีวุฒิ
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๑ ๗๘๓ ๑๔๖๘
๑๑.    นางสาวธนพร นันทะเสน
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๙ ๔๓๐ ๐๐๕๑
๑๒.    นายภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๕ ๑๙๖ ๖๑๙๙
๑๓.    นางวรรณาภา หทยะวัฒน์
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๖ ๙๒๐ ๔๑๗๔
๑๔.    นายอรรณพ สิทธิสาร
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๙๖ ๒๖๙ ๖๙๔๘
๑๕.    นางชบา    สุดสม
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๔ ๗๔๑ ๑๗๗๘
๑๖.    นางสุธีรา   งานชูกิจ
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๑ ๖๘๑ ๘๑๙๒
๑๗.    นายธีราวัฒน์  ไชยเขียว
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๖ ๔๒๐ ๗๘๐๕
๑๘.    นายกฤษพล   กันยะมี
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๙ ๕๖๐ ๗๐๗๐
๑๙.    นายศาสตราพิพัฒน์ ศิริภานุกูล
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๕ ๗๒๔ ๓๐๓๐
๒๐.    นางรัฐพร   ธิเสนา
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๙๘ ๗๙๓ ๖๖๒๘
๒๑.    นายสมชาย  ตนใจ
กรรมการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๙๓ ๑๓๙ ๗๗๒๗
๒๒.    นางสาวทิพากร แก้วอินทร์
กรรมการแลเลขานุการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๘๖ ๑๘๒ ๕๖๘๘
๒๓.    นายทักษกร เพ็ญมณี
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
รร.ศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๐๙๓ ๑๓๙ ๗๗๒๗
๙.๑.๓ ผู้ประสานงานโครงการ (บุคลากรทางการศึกษา)
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์การทำงานด้านสิ่งแวดล้อม
เบอร์โทรศัพท์
๑. นางสาวอริศรา  สะสม
ปริญญาโท
๐๘๔ ๓๗๘ ๗๗๕๒
๒. นายสมชาย  ตนใจ
ปริญญาโท
๐๙๓ ๑๓๙ ๗๗๒๗
๓. นายศาสตราพิพัฒน์ ศิริภานุกูล
ปริญญาโท
๐๘๕ ๗๒๔ ๓๐๓๐
๔. นายทักษกร  เพ็ญมณี
ปริญญาตรี
๐๘๖ ๑๘๒ ๕๖๘๘
๕.นางสาวทิพากร แก้วอินทร์
ปริญญาโท
๐๙๙ ๒๖๙ ๑๐๓๖
บทบาทและหน้าที่
๑.      ติดต่อประสานงานโครงการ ให้มีการดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานโครงการด้วยความเรียบร้อย
          ๙.๑.๔ เจ้าหน้าที่สนาม (ถ้ามี)
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์การทำงานด้านสิ่งแวดล้อม
เบอร์โทรศัพท์
๑. นางสาวอริศรา  สะสม
ปริญญาโท
๐๘๔ ๓๗๘ ๗๗๕๒
๒.นายประทวน  มณีเพชร
ปริญญาตรี
๒๐
๐๘๒ ๒๗๘ ๓๔๕๕
๓. นายอาคม  ไชยฮั่ง
ปริญญาโท
๒๐
๐๖๑ ๒๙๐ ๙๒๗๒
๓. นางประกาย  กาบวัง
ปริญญาโท
๒๐
๐๘๔ ๕๐๐ ๑๘๐๕
๔. นายธีราวัฒน์    ไชยเขียว
ปริญญาโท
๐๘๖ ๔๒๐ ๗๘๐๕
บทบาทและหน้าที่
๑. ประสานการดำเนินงานภาคสนาม ประจำฐานการเรียนรู้ต่าง ๆในโรงเรียน
๒.  เป็นวิทยากรให้ความรู้นักเรียนในการจัดการเรียนรู้ตามโครงการ


๙.๑.๕ พนักงานบัญชี
ชื่อ-สกุล
วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์การทำงานด้านสิ่งแวดล้อม
เบอร์โทรศัพท์
๑. นางวิลาวรรณ  มงคล
ปริญญาโท
๐๙๙ ๓๗๐ ๐๙๙๐
๒.   นางมธุละดา  วีระพันธ์
ปริญญาโท
๐๙๖ ๐๓๙ ๗๘๘๓
บทบาทและหน้าที่
๑. ประสานการดำเนินงานด้านการเงินและบัญชีของโครงการ
๒.  เป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการด้านการเงินและบัญชีของโครงการ

๙.๒ แนวทางการบริหารโครงการเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืนของโครงการ
  แนวทางการบริหารโครงการให้เกิดความยั่งยืนของโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร จากวัตถุประสงค์ในข้อที่ ๒.๓ เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบในการขยายผลสู่โรงเรียนหรือสถานศึกษาอื่นๆ ต่อไป
          โรงเรียนศรีสวัสดิ์เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดน่านมีนโยบายที่ชัดเจนที่จะพัฒนาให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโดยเฉพาะในเรื่องของการจัดการสิ่งแวดล้อมให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี และมีการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะครูนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่านในการคัดแยกขยะที่ต้นทางเป็นอีกโครงการหนึ่งที่ทางโรงเรียนศรีสวัสดิ์มีเป้าประสงค์ที่จะพัฒนาให้เป็นโรงเรียนต้นแบบจึงได้วางแนวทางการดำเนินงานในขั้นตอนตามแผนงานทั้ง ๔ แผนงานดังนี้
          แผนงานที่ ๑ การอบรมให้ความรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย ภายในแผนงานได้จัดการฝึกอบรมให้ความรู้ให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่คณะผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักการภารโรง ร้านค้าผู้ประกอบการ และครัวเรือนที่มีบ้านพักอยู่ภายในบริเวณโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ และกิจกรรมที่สำคัญอีกกิจกรรมหนึ่งในแผนงานก็คือ การสร้างทีมงานวิทยากรของโรงเรียนขึ้นซึ่งในทีมงานวิทยากรจะประกอบไปด้วยคณะกรรมการหลายๆ ฝ่ายทั้งฝ่ายบริหาร คณะครูและบุคลากร และนักเรียนแกนนำที่เป็นสภานักเรียนซึ่งจะใช้เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ห้าเป็นกำลังหลัก เมื่อทางโรงเรียนได้มีทีมงานวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถแล้ว จะสามารถถ่ายทอดวิธีการ กระบวนการคัดแยกขยะให้แก่นักเรียนที่เข้ามาใหม่แก่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ และโดยเฉพาะนักเรียนที่จะมาเป็นแกนนำในสภานักเรียน
การปลูกฝังความรู้ความเข้าใจในกระบวนการการมีส่วนร่วมให้กับนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน
โรงเรียนได้ดำเนินการการปลูกฝังความรู้ความเข้าใจในกระบวนการการมีส่วนร่วมให้กับนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน โดยมอบให้แต่ละกลุ่มงานร่วมรับผิดชอบในการดำเนินงานโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วม โดยแต่ละกลุ่มงานจะประชุมให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการดำเนินการและนำไปสู่นักเรียนสอดแทรกตามภารกิจงานของตนเอง ตามรูปแบบ S.W.MODEL
๑.      STP (SRISAWAT  Thinking  Participation)  = ศรีสวัสดิ์ฯ ร่วมคิด  ร่วมวางแผน

ร่วมคิดวางแผน  โดยมีส่วนร่วมวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา  มีการ SWOT ร่วมจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ร่วมคิดเสนอแนวทางแก้ปัญหา  ร่วมกำหนดความต้องการของชุมชน  ร่วมตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม  ร่วมเสนอโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม
๒.     SIP (SRISAWAT  Implementing  Participation= ศรีสวัสดิ์ฯ ร่วมทำ
ให้ทุกภาคส่วนที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษา  มีส่วนร่วมในงานด้านวิชาการ  ด้านงบประมาณ  งานบริหารบุคคล  และงานการบริหารทั่วไป  โดยมีส่วนร่วมเกี่ยวกับร่วมแรงในการดำเนินงาน  ร่วมใจหรือการสนับสนุนให้กำลังใจ  ร่วมสนับสนุนทรัพยากร  และร่วมบริหารงาน  เช่น  ระดมทรัพยากร  จัดสรรทรัพยากร  แก้ปัญหาและประสานงาน
๓.     SEP (SRISAWAT  Evaluation  Participation= ศรีสวัสดิ์ฯ ร่วมประเมินผล
โดยมีส่วนร่วมในเรื่องดังนี้  ติดตามความก้าวหน้า  ความสำเร็จ  สรุปผล  รายงานผลการดำเนินงาน  การบริหารงานในด้านวิชาการ  ด้านงบประมาณ  งานบริหารบุคคล  และงานการบริหารทั่วไป
๔.     SBP (SRISAWAT  Benefits  Participation= ศรีสวัสดิ์ฯร่วมรับผล
ความสำเร็จของการทำงานแบบมีส่วนร่วมที่ยั่งยืนนั้น  ทุกฝ่ายต้องได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม  ซึ่งเกิดความภาคภูมิใจในกระบวนการมีส่วนร่วมและผลงานที่เกิดขึ้น  ต้องส่งผลไปถึงนักเรียนสถานศึกษา  และชุมชน
          ๒) ความยั่งยืนในการดำเนินงาน กระบวนการสร้างความยั่งยืนให้กับกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ
                    โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่านได้กำหนดการดำเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะเป็นปัจจัยหลักที่จูงใจให้บุคลากรมีความมุ่งมั่นต่อการบรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์ของโรงเรียน  โดย ยึดถือนโยบายตามสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกำหนดเป็นภารกิจของโรงเรียน ฝ่ายบริหาร คณะครู นักเรียน และ เครือข่ายทางการศึกษาของโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน
ปัจจัยหลักที่โรงเรียนยึดเป็นแรงจูงใจให้บุคลากรมีความมุ่งมั่นภารกิจ

๑. การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในสถานศึกษา โรงเรียนจัดให้มีแผนงาน การสร้าง ความรู้ความเข้าใจ เพื่อลด คัดแยก และนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น จัดทำฐานการเรียนรู้ 
                   ๒. การต่อยอดกิจกรรมที่มีอยู่เดิม จัดทำแผนงานพัฒนากิจกรรมเดิมที่โรงเรียนดำเนินงาน อยู่แล้ว หรือต่อยอดจากพื้นฐานกิจกรรมพัฒนาเป็นกิจกรรมใหม่
                   ๓. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ขยายกิจกรรมภายในโรงเรียนลงสู่ชุมชน ขยาย แนวคิด                      ลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่สู่ชุมชน 
                   ๔. การลด การใช้ซ้ำ และการคัดแยกขยะมูลฝอย (๓Rs)สามารถทำได้หลายวิธี หลากหลาย กิจกรรม เช่น การใช้กระดาษ ๒ หน้า การรณรงค์ใช้แก้วน้าส่วนตัว กิจกรรมตลาดนัดสินค้ามือสอง เป็นต้น
                   ๕. การนำขยะย่อยสลายกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่งเสริมการจัดการเศษอาหาร ใบไม้แห้ง
เศษพืช เช่น นำไปทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ หรือพลังงานทางเลือก เป็นต้น
                   ๖. การคัดแยกขยะรีไซเคิลเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะรีไซเคิลผ่านกิจกรรม เช่น ธนาคารขยะรีไซเคิล ฐานการเรียนรู้คัดแยกขยะ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป เป็นต้น
                   ๗. การจัดการขยะทั่วไปและขยะอันตรายในโรงเรียน ส่งเสริมการลดและการคัดแยกขยะ ทั่วไปและขยะอันตรายอย่างจริงจัง เช่น มีจุดรองรับขยะอันตราย ป้ายความรู้ถึงอันตรายของขยะอันตราย การทำสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ เป็นต้น
                   ๘. การสนับสนุนให้โรงเรียนมีหลักสูตรการเรียนการสอน เช่น การหลักสูตรทางเลือก เกี่ยวกับการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม จัดแผนการสอนที่สอดแทรกองค์ความรู้เรื่องการจัดการขยะและ สิ่งแวดล้อม
ในรายวิชาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
                   ๙. สมัครเข้าร่วมการประกวดโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero Waste ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม









No comments:

Post a Comment